มาตรการส่งเสริมคุณธรรม

และความโปร่งใสในการดำเนินงาน

สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล

Global network

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

จัดทำโดย

หน่วยแผนและพัฒนาคุณภาพ

หน่วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้นำเกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) มาใช้ในการมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน

ที่ประกอบด้วย

(1) IIT คือ แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment)

(2) EIT คือ แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment)

(3) OIT คือ แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment)

ดังนั้น เพื่อให้สอดรับกับเจตจำนงค์สุจริตของผู้บริหารสูงสุดและทีมบริหาร จึงนำมาสู่การจัดทำมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ขึ้น เพื่อให้พิจารณาเห็นถึงประเด็นสำคัญ อาทิ

(1) กระบวนการปฏิบัติงานที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ

(2) การให้บริการและระบบ E-Service

(3) ช่องทางและรูปแบบการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารภาครัฐ

(4) กระบวนการกำกับดูแลการใช้ทรัพย์สินของราชการ

(5) กระบวนการสร้างความโปร่งใสในการใช้งบประมาณและการจัดซื้อจัดจ้าง

(6) กระบวนการควบคุม ตรวจสอบการใช้อำนาจและการบริหารงานบุคคล

(7) กลไกและมาตรการในการแก้ไขและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน


ส่วนที่ 1 สรุปผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

สถาบันโภชนาการ มีคะแนนประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ภาพรวม เท่ากับ 78.13 คะแนน โดบแบ่งตามเกณฑ์การประเมิน ดังนี้


1. แบบวัดการรับรู้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (IIT) มีผลคะแนน เท่ากับ 83.43 คะแนน กล่าวคือ

- ตัวชี้วัดที่มีคะแนนน้อยที่สุด คือ การใช้งบประมาณ

- ตัวชี้วัดที่ต้องปรับปรุงและพัฒนาเร่งด่วน คือ การรับรู้แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี

2. แบบวัดการรับรู้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT) มีผลคะแนน เท่ากับ 87.06 คะแนน

กล่าวคือ

- ตัวชี้วัดที่มีคะแนนน้อยที่สุด คือ การปรับปรุงระบบการทำงาน

- ตัวชี้วัดที่ต้องปรับปรุงและพัฒนาเร่งด่วน คือ การเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เข้าไปมีส่วนร่วมในการปรับปรุงพัฒนาการดำเนินงาน/การให้บริการ ของหน่วยงาน

3. แบบวัดการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (OIT) มีผลคะแนน เท่ากับ 67.44 คะแนน กล่าวคือ

- ตัวชี้วัดที่มีคะแนนน้อยที่สุด คือ การป้องกันการทุจริต

- ตัวชี้วัดที่ต้องปรับปรุงและพัฒนาเร่งด่วน คือ มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต

สรุปภาพรวมตัวชี้วัดในการดำเนินงานด้านความโปร่งใส

สถาบันโภชนาการ ปี 2566

ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ค่าคะแนน

(ตารางผลประเมินและข้อที่ควรพัฒนา 7 มิติ)

มิติที่ 1 กระบวนการปฏิบัติงานที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ

มิติที่ 2 การให้บริการและระบบ E-Service

มิติที่ (3) ช่องทางและรูปแบบการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารภาครัฐ

มิติที่ (4) กระบวนการกำกับดูแลการใช้ทรัพย์สินของราชการ

มิติที่ (5) กระบวนการสร้างความโปร่งใสในการใช้งบประมาณและการจัดซื้อจัดจ้าง

มิติที่ (6) กระบวนการควบคุม ตรวจสอบการใช้อำนาจและการบริหารงานบุคคล

มิติที่ (7) กลไกและมาตรการในการแก้ไขและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน

ส่วนที่ 3 มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

มิติที่ (1) กระบวนการปฏิบัติงานที่โปร่งใสและมีประสิทธิภาพ

มิติที่ (2) การให้บริการและระบบ E-Service

มิติที่ (3) ช่องทางและรูปแบบการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารภาครัฐ

มิติที่ (4) กระบวนการกำกับดูแลการใช้ทรัพย์สินของราชการ

มิติที่ (5) กระบวนการสร้างความโปร่งใสในการใช้งบประมาณและการจัดซื้อจัดจ้าง

มิติที่ (6) กระบวนการควบคุม ตรวจสอบการใช้อำนาจและการบริหารงานบุคคล

มิติที่ (7) กลไกและมาตรการในการแก้ไขและป้องกันการทุจริตภายในหน่วยงาน

ส่วนที่ 4 การวิเคราะห์ข้อจำกัดของหน่วยงาน

ในการดำเนินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส

ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ